องค์การบริหารส่วนตำบลหนองแวง อำเภอเทพารักษ์ จังหวัดนครราชสีมา : www.nongwang.go.th

 
 
 


กองทุนหลักสุขภาพตำบลหนองแวงปีงบประมาณ2566 ร่วมกับรพ.สต.หนองแวง โครงการโครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต (ส่งเสริมสุขภาพแม่และลูก


การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์หรือทุนมนุษย์ (Human capital) จะส่งผลต่อการขับเคลื่อนประเทศไทยให้บรรลุ“ประเทศไทย ๔.๐” ดังนั้นการพัฒนาคนไทยให้สอดรับกับนิยามของคนไทยในศตวรรษที่ ๒๑ เป็นสิ่งที่สำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งการพัฒนาคนไทยเพื่อให้ได้คนไทย๔,๐ที่มีสติปัญญาดีมีทักษะสูงมีสุขภาพแข็งแรงและมีจิตใจที่งดงามต้องเริ่มตั้งแต่การปฏิสนธิการตั้งครรภ์จนถึงการคลอดและเติบโตต่อเนื่องอย่างมีคุณภาพจนอายุ 5 ปีบริบูรณ์ 6,000 วันแรกของการดูแลอย่างเอาใจใส่และทุ่มเทของมารดาครอบครัวและชุมชนตั้งแต่ในช่วงการตั้งครรภ์ (๒๗๐ วัน) จนถึงอายุ 6ขวบ (๗๓๐วัน) จะเป็นตัวกำหนดสำคัญตัวหนึ่งที่จะบอกถึงขีดความสามารถสติปัญญาศักยภาพและความสำเร็จของลูกในอนาคตจากสถานการณ์จำนวนหญิงตั้งครรภ์จังหวัดนครราชสีมาในปี ๒๕๖๔ จำนวน ๒๗,๐๘๐ คน ปี ๒๕๖๕จํานวน ๑๗,๐๐๐ คน ทารกแรกเกิดมีชีพปี ๒๕๖๔ มีจำนวน ๑๔,๓๘๐ คน ปี ๒๔๖๕ มีจำนวน ๑๑,๔๒๘ คน จำนวนเด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม ปี ๒๕๖๔ จำนวน ๕๐๒ คนคิดเป็นร้อยละ ๓.๙๑ ปี ๒๕๖๕ จำนวน๔๕๑ คนคิดเป็นร้อยละ ๓.๘๖ ซึ่งทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัมจะส่งผลต่อพัฒนาการทางด้าน IQEQ และการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กทารกจากการสุ่มสำรวจ IQ เด็กจังหวัดนครราชสีมาปี ๒๕๖๔ พบเด็กมี 10 ร้อยละ ๙๕.๖๙ ปี ๒๕๖๕ พบเด็กมี 10 ร้อยละ ๙๖.๒๕ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อยในส่วนพัฒนาการเด็ก ๐-๕ปี ในปี ๒๕๖๔ เด็ก ๐-๕ ปี มีพัฒนาการสมวัยร้อยละ ๘๕.๕๕ พบสงสัยล่าช้าร้อยละ ๑๙.๕๖ ปี ๒๕๖๕ เด็ก ๐-๕ ปีมีพัฒนาการสมวัยร้อยละ ๔๔.๑๔ พบสงสัยล่าช้าร้อยละ ๑๕.๘๖ จากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการดื่มนมกับน้ำหนักแม่และน้ำหนักเด็กแรกเกิด Dose response relationship จากข้อมูลมีหลักฐานเชื่อได้ว่าหากหญิงงครรภ์ที่มีน้ำหนักเพิ่มตลอดการตั้งครรภ์น้อยกว่า ๑๐ กิโลกรัมหรือคลอดก่อนกำหนดมีความเสี่ยงสูงที่จะพบเด็กแรกคลอดนํ้าหนักน้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัมดังนี้จากการวิเคราะห์ข้อมูลพบความสัมพันธ์ของปัจจัยสองปัจจัยในลักษณะ Dose response relationship๓. ความสัมพันธ์ระหว่างการดื่มนมกล่องกับน้ำหนักที่แม่เพิ่มขึ้นยิ่งดื่มนมกล่องมากขึ้นน้ำหนักของแม่ก็มากขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ๒. ความสัมพันธ์ระหว่างการดื่มนมกล่องกับน้ำหนักเด็กแรกเกิดยิ่งดื่มนมกล่องมากขึ้นเด็กแรกเกิดอัตราการเกิดเด็กแรกคลอดน้ำหนักน้อยกว่า ๒,๕๐๐กรัมในทิศทางตรงกันข้ามอย่างชัดเจนจากสถานการณ์ผลการดำเนินงานด้านอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองแวง ในปี ๒๕๖๕ พบว่ามีประเด็นที่เกี่ยวข้องที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาสุขภาพเด็กในพื้นที่ดังนี้๑.หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์ ๓๒ สัปดาห์คิดเป็นร้อยละ ๔๔.๒๓๒.หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ ๕ ครั้งตามเกณฑ์คิดเป็นร้อยละ ๗๘.๔๕๓. หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางร้อยละ ๔.๒๕๕จัด๔. หญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดไอโอดีนและรับประทานทุกวันร้อยละ 100๕. เด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักตัวน้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม ร้อยละ 05. เด็กแรกคลอดกินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 5 เดือนร้อยละ ๗๐๗. เด็ก ๐-๕ ปี มีพัฒนาการสมวัยร้อยละ ๖๔.๓๘ พบพัฒนาการสงสัยล่าช้าร้อยละ ๒๖,๗๗๘ เด็กอายุ ๐-๕ ปีสูงดีสมส่วนร้อยละ ๗๘.๒๑ มีภาวะเตี้ย ร้อยละ ๕.๖๕ ผอมร้อยละ ๕.๒๔จากสถานการณ์ดังกล่าวพบว่ากระบวนการดำเนินงานและการแก้ไขปัญหาโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพียงฝ่ายเดียวไม่สามารถประสบความสำเร็จได้และไม่ยั่งยืนดังนั้นเงื่อนใขสำคัญที่นำไปสู่ความสำเร็จคือการบูรณาการและการทางานร่วมกันของภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องถือเป็นความท้าทายที่สำคัญดังนั้น ๑,๐๐๐ วันแรกของชีวิตที่เริ่มตั้งแต่การตั้งครรภ์และเด็กจนถึงอายุ 6 ปี เป็นช่วงเวลาสำคัญของกระบวนการพัฒนาการทางร่างกายและสมองเนื่องจากเป็นช่วงเวลาที่มีกระบวนการสร้างเซลล์สมองมีการเพิ่มเซลล์สมองควบคู่กับการสร้างเส้นใยประสาทเร็วที่สุดการได้รับโภชนาการที่เหมาะสมร่วมกับความรักความอบอุ่นจากกระบวนการกินกอดเล่นเล่าจะทำให้ทารกเจริญเติบโตและพัฒนาเป็นผู้ใหญ่ที่มีศักยภาพสูง ดังนั้นเพื่อให้การดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และเด็กจนถึงอายุ ปีบรรลุตามวัตถุประสงค์โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองแวงจึงได้จัดท้าโครงการมหัศจรรย์ ๓,๐๐๐ วัน พลัส ขึ้น





2024-03-18
2024-03-18
2024-02-27
2024-02-07
2024-01-13
2023-09-30
2023-09-30
2023-09-30
2023-09-30
2023-09-30